ข้ามไปที่เนื้อหาหลัก

บทความ

กำลังแสดงโพสต์จาก 2016

VO2 Max, Aerobic Power& Maximal Oxygen Uptake

VO2 Max, Aerobic Power& Maximal Oxygen Uptake VO2 max has been defined as: "the highest rate of oxygen consumption attainable during maximal or exhaustive exercise" (3). As exercise intensity increases so does oxygen consumption. However, a point is reached where exercise intensity can continue to increase  without  the associated rise in oxygen consumption. To understand this in more practical terms, take a look at the diagram below: The point at which oxygen consumption plateaus defines the VO2 max or an individual's maximal aerobic capacity. It is generally considered the best indicator of cardiorespiratory endurance and aerobic fitness. However, as well discuss in a moment, it is more useful as an indicator of a person's aerobic  potential  or upper limit than as a predictor of success in endurance events. Aerobic power, aerobic capacity and maximal oxygen uptake are all terms used interchangeably with VO2 max. VO2 max is usually ...

Body Composition FAQs

Body Composition FAQs Here are some frequently asked questions about body composition tests. See more fitness testing FAQs. Where can I get my body composition measured? If you want just your skinfolds measured, try your local gym or a sports dietitian. If you are after underwater weighing or other more complex body composition measurements, try the kinesiology / physical education department of your local university. Why do they use those particular skinfold sites? I do not know why each particular skinfold site is used, however, I know that there have been other sites used previously that are no longer in vogue. Earlier research would have used a greater number of sites, and this number would have been whittled down till they found the current sites (up to 7) which give the best correlation when compared to the original criterion measure of bodyfat measurement, hydrostatic weighing. There is a compromise between having a small number of sites to measure (and less c...

Changing Heart Rhythms

Changing Heart Rhythms Research has revealed that when we experience stress and negative emotions such as tension, anger or frustration, our heart pattern becomes irregular and incoherent, which negatively affects health, brain function, performance and sense of wellbeing. This is displayed in our Heart Rate Variability (HRV) trace – HRV is the beat-to-beat changes in our heart’s rhythm. It is one of the few automatic bodily functions that we have the potential to control intentionally. This chaotic activity reinforces the stress reaction. However, when we regulate our breathing and experience positive emotions such as appreciation, care joy, and passion our HRV graph becomes much more ordered and coherent and the stress reaction is stopped. Ordered and harmonious heart rhythms are an indicator of your “coherence level”. High coherence is a state associated with positive emotional attitudes, which send signals to the brain that reduce stress, improve brain function, ho...

ปัญหาและอุปสรรคของการออกกำลังกายในคนอ้วน

ปัญหาและอุปสรรคของการออกกำลังกายในคนอ้วน 1 . ปัญหาทางด้านแรงจูงใจและความร่วมมือของผู้ป่วย             เป็นปัญหาใหญ่และเป็นเหตุให้เกิดความล้มเหลวในด้านการรักษาสูง ในความคิดของคนทั่วไปเมื่อพูดถึงการออกกำลังกายจะถือว่าเป็นของยุ่งยาก กระทำได้ยาก ไม่มีเวลาพอ หรือออกกำลังกายแล้วเหนื่อย แม้จะรู้ถึงประโยชน์ของการออกกำลังกายหรือมีประสบการณ์มาแล้วด้วยตนเอง โดยพบว่าตนเองมีสุภาพดีขึ้นภายหลังจากที่ได้ออยกกำลังกายสม่ำเสมอ แต่ในที่สุดก็มักจะเลิกราตามระยะเวลาที่ผ่านไป ปัญหาในเรื่องแรงจูงใจ เวลา และ ความสม่ำเสมอในการออกกำลังกายนั้นถือเป็นอุปสรรคที่สำคัญที่สุดในการรักษาโรคอ้วน โดยเฉพาะในกลุ่มผู้ป่วยเป้าหมายอันได้แก่ผู้ป่วยอ้วนวัยกลางคนที่มักจะติดภารกิจการงานต่างๆมากมายกระทั่วไม่สามารถแบ่งเวลามาได้ ทั้งนี้เนื่องจากโปรแกรมการออกกลังกายภายหลบังการออกกำลังกายที่จะมีผลในการควบคุมน้ำหนักนั้นต้องใช้เวลาครั้งละ 1 ชั่วโมงเป็นจำนวน 3 ครั้งต่อสัปดาห์ ซึ่งเมื่อรวมกับเวลาที่ต้องเสียงไปในการเดินทาง การเปลี่ยนเสื้อผ้า การชะล้างร่างกายหลังออกกำลังกายแล...

การรักษาและดูแลเบื้องต้นภายหลังการบาดเจ็บจากการกีฬา

การรักษาและดูแลเบื้องต้นภายหลังการบาดเจ็บจากการกีฬา             ภายหลังการบาดเจ็บจากการเล่นกีฬา ผู้เล่นควรได้รับการรักษาอย่างทันท่วงทีและถูกต้อง ส่วนของ ร่างกายที่ได้รับการบาดเจ็บนั้นจะหายเป็นปกติได้ แต่ถ้าเป็นการบาดเจ็บที่รุนแรงหรือได้รับการรักษาที่ไม่ ถูกต้องอาจเกิดปัญหาแทรกซ้อนและส่งผลให้กลับไปเล่นกีฬาต่อไม่ได้ ดังนั้น ผู้เล่นจึงควรได้รับการดูแลและ รักษาเบื้องต้น ซึ่งสามารถท าได้ด้วยตนเองก่อนที่จะไปรับการรักษาที่โรงพยาบาล โดยแนวทางในการรักษา เบื้องต้นนั้น  ใช้หลัก 4 ย .ดังต่อไปนี้ คือ        1 . หยุด คือ การหยุดหรือพักไม่ให้มีการเคลื่อนไหวของกล้ามเนื้อและข้อบริเวณที่ได้รับการบาดเจ็บ ทันทีที่สามารถทำได้ การกระทำดังกล่าวจะทำให้เส้นเลือดฝอยที่นำเลือดมาเลี้ยงบริเวณนั้นแตกน้อยลง มีผลให้เกิดการบวมของข้อน้อยลง และเส้นเอ็น เส้นประสาท กล้ามเนื้อ ก็ฉีกขาดน้อยลง และยังป้องกันการบาดเจ็บ ที่จะตามมาอีก        2. เย็น คือ การให้นำน้ำแข็งหรือน้ำเย็...

การบาดเจ็บที่เกิดในการเล่นกีฬา

การบาดเจ็บที่เกิดในการเล่นกีฬา การบาดเจ็บที่เกิดในการเล่นกีฬาสามารถแบ่งออกเป็น 2 ประเภทได้แก่ 1. Acute injury เป็นการบาดเจ็บที่เกิดขึ้นทันทีหลังจากได้รับอุบัติเหตุหรือจากแรงมา กระทําโดยการ บาดเจ็บหรืออุบัติเหตุที่ได้รับมีความรุนแรงมากพอที่จะทําให้เกิดอาการบาดเจ็บขึ้นมาในทันที และมักจะมีอาการบวม ตามมา โดยจะบวมจะเกิดขึ้นมากที่สุดหลังจากได้รับบาดเจ็บประมาณ 2-3 ชั่วโมง ดังนั้นในการตรวจและประเมินผู้ที่ ได้รับบาดเจ็บจากกีฬาควรกระทําทันทีหลังได้รับบาดเจ็บ เพราะอาการบวมที่เกิดขึ้นภายหลังอาจจะทําให้การตรวจ ร่างกาย และประเมินการบาดเจ็บได้ลําบากมากขึ้น การบาดเจ็บเฉียบพลันที่พบบ่อย ได้แก่ กระดูกหัก เส้นเอ็นฉีกขาด ข้อเคลื่อน และบาดแผลฟกช้ำ (ในบทความนี้ เนื้อหาของกระดูกหักและข้อเคลื่อนจะไม่ขอกล่าวในที่นี้) 2. Overuse injury เป็นการบาดเจ็บที่เกิดขึ้นหลังจากได้รับอุบัติเหตุหรือแรงมากระทําซ้ำๆ ( repetitive injury) โดยการบาดเจ็บหรือแรงที่มากระทําในแต่ละครั้งมีความรุนแรงไม่มากพอที่จะทําให้เกิดอาการบาดเจ็บขึ้นมา ในทันที ร่างกายจะมีการซ่อมแซมและปรับสภาพ แต่เนื่องจากได้รับบ...

การป้องกันการบาดเจ็บจากการเล่นกีฬา

การป้องกันการบาดเจ็บจากการเล่นกีฬา เนื่องจากการออกกำลังกาย หรือเล่นกีฬาต้องการการเคลื่อนไหว และการใช้กำลังของกล้ามเนื้อมากกว่าปกติ จึงมีความเสี่ยงต่อการบาดเจ็บมากขึ้นกว่าปกติ การป้องกันดังกล่าวต้องอาศัยการฝึกฝนเพื่อให้ข้อต่อมีการเคลื่อนไหวอย่างเป็นปกติ และที่สำคัญคือ กล้ามเนื้อต่างๆ ต้องมีความยืดหยุ่นที่ดีพอ และต้องมีความแข็งแรงทนทาน เพื่อป้องกันปัญหากล้ามเนื้อฉีกขาด หรืออักเสบ การฝีกความยืดหยุ่นของกล้ามเนื้อและข้อต่อ คือ การบริการเหยียดกล้ามเนื้ออย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะอย่างยิ่งก่อนการเล่นกีฬา ส่วนการฝึกความแข็งแรงทนทายของกล้ามเนื้อ คือ การเสริมสร้างกำลัง โดยอาศัยน้ำหนักถ่วง weight training และฝึกให้กล้ามเนื้อมัดนั้นๆ มีการใช้งานอย่างต่อเนื่อง นอกนั้น ปัจจัยภายนอก เช่น สนามกีฬา อุปกรณ์ และเครื่องป้องกันต่างๆ แต่ละชนิดกีฬาก็มีความสำคัญ ทาง สถาบันเวชศาสตร์การกีฬาและออกกำลังกายกรุงเทพ (BASEM)  โรงพยาบาลกรุงเทพ มีคำแนะนำฝึกฝน เพื่อความเข้าใจในการป้องกันการบาดเจ็บดังกล่าว   ปวดไหล่ ไหล่ติดยึด ข้อไหล่  เป็นข้อที่มีการเคลื่อนไหวมากที่สุดในร่างกาย ดังน...

VO2 max

VO 2  max  คือ ค่า หรือเครื่องมือที่บ่งบอกถึงสมรรถภาพของร่างกาย ซึ่งใช้มากทางเวชศาสตร์การกีฬา เป็นการวัดประสิทธิภาพสูงสุดในการนำออกซิเจนจากในเลือดส่งไปยังกล้ามเนื้อ เพื่อให้ร่างกายนำไปใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยทางทฤษฎี คนที่มีค่า VO 2  max มาก แสดงว่ามีความสามารถในการออกกำลังกายแบบใช้ออกซิเจน (Aerobic exercise) ได้ดีกว่า ดังนั้น ค่า VO 2  max จึงเป็นตัวบ่งบอกถึงระดับความฟิตของร่างกายได้ นักกีฬาผู้นั้น จึงมีโอกาสที่จะมีความฟิตมากกว่า ออกกำลังได้ดีกว่า และนานกว่านั่นเอง ค่า VO 2  max จะขึ้นกับเพศ อายุ ระดับการออกกำลังกาย สภาพของหัวใจและหลอดเลือด รวมถึงกรรมพันธุ์ ซึ่งโดยทั่วไปค่านี้จะมีค่าสูงในช่วงอายุ 15-35 ปี และค่อยๆลดลงตามช่วงอายุที่เพิ่มมากขึ้น นักกีฬาที่มีค่า VO 2  max ต่ำ จะมีความสามารถที่จะนำออกซิเจนไปใช้ได้น้อย ส่งผลให้ต่อมามีการสะสมของของเสียมากขึ้น คือ กรดแลกติก ซึ่งจะทำให้กล้ามเนื้อมีการปวดและเมื่อยล้า เพราะฉะนั้น นักกีฬาที่ความฟิตต่ำ หรือ มีค่า VO 2  max ต่ำ จะผลิตกรดแลกติกเร็ว และจะมีปัญหากับความเหนื่อยล้ามากกว่านักกีฬาท...