ข้ามไปที่เนื้อหาหลัก

บทความ

กำลังแสดงโพสต์จาก พฤศจิกายน, 2016

ปัญหาและอุปสรรคของการออกกำลังกายในคนอ้วน

ปัญหาและอุปสรรคของการออกกำลังกายในคนอ้วน 1 . ปัญหาทางด้านแรงจูงใจและความร่วมมือของผู้ป่วย             เป็นปัญหาใหญ่และเป็นเหตุให้เกิดความล้มเหลวในด้านการรักษาสูง ในความคิดของคนทั่วไปเมื่อพูดถึงการออกกำลังกายจะถือว่าเป็นของยุ่งยาก กระทำได้ยาก ไม่มีเวลาพอ หรือออกกำลังกายแล้วเหนื่อย แม้จะรู้ถึงประโยชน์ของการออกกำลังกายหรือมีประสบการณ์มาแล้วด้วยตนเอง โดยพบว่าตนเองมีสุภาพดีขึ้นภายหลังจากที่ได้ออยกกำลังกายสม่ำเสมอ แต่ในที่สุดก็มักจะเลิกราตามระยะเวลาที่ผ่านไป ปัญหาในเรื่องแรงจูงใจ เวลา และ ความสม่ำเสมอในการออกกำลังกายนั้นถือเป็นอุปสรรคที่สำคัญที่สุดในการรักษาโรคอ้วน โดยเฉพาะในกลุ่มผู้ป่วยเป้าหมายอันได้แก่ผู้ป่วยอ้วนวัยกลางคนที่มักจะติดภารกิจการงานต่างๆมากมายกระทั่วไม่สามารถแบ่งเวลามาได้ ทั้งนี้เนื่องจากโปรแกรมการออกกลังกายภายหลบังการออกกำลังกายที่จะมีผลในการควบคุมน้ำหนักนั้นต้องใช้เวลาครั้งละ 1 ชั่วโมงเป็นจำนวน 3 ครั้งต่อสัปดาห์ ซึ่งเมื่อรวมกับเวลาที่ต้องเสียงไปในการเดินทาง การเปลี่ยนเสื้อผ้า การชะล้างร่างกายหลังออกกำลังกายและอื่นๆอีกประมาณ 1 ชั่วโมง ก็นับเป็นการสิ้นเปลืองเวลาพ

การรักษาและดูแลเบื้องต้นภายหลังการบาดเจ็บจากการกีฬา

การรักษาและดูแลเบื้องต้นภายหลังการบาดเจ็บจากการกีฬา             ภายหลังการบาดเจ็บจากการเล่นกีฬา ผู้เล่นควรได้รับการรักษาอย่างทันท่วงทีและถูกต้อง ส่วนของ ร่างกายที่ได้รับการบาดเจ็บนั้นจะหายเป็นปกติได้ แต่ถ้าเป็นการบาดเจ็บที่รุนแรงหรือได้รับการรักษาที่ไม่ ถูกต้องอาจเกิดปัญหาแทรกซ้อนและส่งผลให้กลับไปเล่นกีฬาต่อไม่ได้ ดังนั้น ผู้เล่นจึงควรได้รับการดูแลและ รักษาเบื้องต้น ซึ่งสามารถท าได้ด้วยตนเองก่อนที่จะไปรับการรักษาที่โรงพยาบาล โดยแนวทางในการรักษา เบื้องต้นนั้น  ใช้หลัก 4 ย .ดังต่อไปนี้ คือ        1 . หยุด คือ การหยุดหรือพักไม่ให้มีการเคลื่อนไหวของกล้ามเนื้อและข้อบริเวณที่ได้รับการบาดเจ็บ ทันทีที่สามารถทำได้ การกระทำดังกล่าวจะทำให้เส้นเลือดฝอยที่นำเลือดมาเลี้ยงบริเวณนั้นแตกน้อยลง มีผลให้เกิดการบวมของข้อน้อยลง และเส้นเอ็น เส้นประสาท กล้ามเนื้อ ก็ฉีกขาดน้อยลง และยังป้องกันการบาดเจ็บ ที่จะตามมาอีก        2. เย็น คือ การให้นำน้ำแข็งหรือน้ำเย็นมาประคบบริเวณอวัยวะที่ได้รับการบาดเจ็บทันทีโดยใช้เวลา ในการประคบครั้งละ 15-20 นาที วันละ 3 -4 ครั้ง ซึ่งจะมีผลท

การบาดเจ็บที่เกิดในการเล่นกีฬา

การบาดเจ็บที่เกิดในการเล่นกีฬา การบาดเจ็บที่เกิดในการเล่นกีฬาสามารถแบ่งออกเป็น 2 ประเภทได้แก่ 1. Acute injury เป็นการบาดเจ็บที่เกิดขึ้นทันทีหลังจากได้รับอุบัติเหตุหรือจากแรงมา กระทําโดยการ บาดเจ็บหรืออุบัติเหตุที่ได้รับมีความรุนแรงมากพอที่จะทําให้เกิดอาการบาดเจ็บขึ้นมาในทันที และมักจะมีอาการบวม ตามมา โดยจะบวมจะเกิดขึ้นมากที่สุดหลังจากได้รับบาดเจ็บประมาณ 2-3 ชั่วโมง ดังนั้นในการตรวจและประเมินผู้ที่ ได้รับบาดเจ็บจากกีฬาควรกระทําทันทีหลังได้รับบาดเจ็บ เพราะอาการบวมที่เกิดขึ้นภายหลังอาจจะทําให้การตรวจ ร่างกาย และประเมินการบาดเจ็บได้ลําบากมากขึ้น การบาดเจ็บเฉียบพลันที่พบบ่อย ได้แก่ กระดูกหัก เส้นเอ็นฉีกขาด ข้อเคลื่อน และบาดแผลฟกช้ำ (ในบทความนี้ เนื้อหาของกระดูกหักและข้อเคลื่อนจะไม่ขอกล่าวในที่นี้) 2. Overuse injury เป็นการบาดเจ็บที่เกิดขึ้นหลังจากได้รับอุบัติเหตุหรือแรงมากระทําซ้ำๆ ( repetitive injury) โดยการบาดเจ็บหรือแรงที่มากระทําในแต่ละครั้งมีความรุนแรงไม่มากพอที่จะทําให้เกิดอาการบาดเจ็บขึ้นมา ในทันที ร่างกายจะมีการซ่อมแซมและปรับสภาพ แต่เนื่องจากได้รับบ