ข้ามไปที่เนื้อหาหลัก

เวย์โปรตีน

เวย์โปรตีน
        เป็นผลพลอยได้จากขบวนการผลิตเนยแข็ง โดยการนานมวัวมาทาให้เป็นตะกอนโปรตีนโดยใช้ความร้อนร่วมกับการเติมเชื้อจุลินทรีย์ เพื่อให้เปลี่ยนน้าตาลแลคโตสเป็นกรดแลคติก โปรตีนที่
ตกตะกอนจะเป็นเคซีน โปรตีนส่วนนี้เองที่จะนาไปทาเนยแข็งต่อไป ส่วนเวย์โปรตีนจะไม่ตะกอนแต่จะอยู่ในส่วนของน้า ซึ่งจะต้องถูกแยกออกมาจากกระบวนการทาเนยแข็ง เวย์โปรตีนเป็นโปรตีนที่มีคุณค่าทางโภชนาการสูงมีกรดอะมิโนจาเป็นสูง เป็นแหล่งของ Sulfur amino acids คือ Methionine, Cysteine และเป็นแหล่งของ Branched-chain amino acids (ลิวซีน ไอโซลิวซีน วาลีน) อีกทั้งยังเป็นแหล่งของกลูตามีน ไกลซีนAlpha-Lactoglobulin, Beta-Lactoglobulin, Bovine Serum Albumin, Immunoglobulin (Ig Gl, IgGll,Secretory lgA, lgM) และยังประกอบไปด้วยเอ็นไซม์, Iron Binding Protein, Calcium, Potassium, Sodium,Phosphorus, Vitamin A,C,B1,B2,B3,B5,B12, Folic Acid และ Biotin
 เวย์ โปรตีน จะถูกดูดซึมทางลาไส้เล็กอย่างรวดเร็วโดยเฉพาะ Beta- Lacto globulin เวย์โปรตีนจะถูก
ส่งผ่านจากกระเพาะอาหาร สู่ลาไส้เล็กอย่างเร็ว ไม่เหมือนกับพวกโปรตีน อื่นๆที่ต้องถูกย่อยด้วยเอ็นไซม์จากตับอ่อนก่อน เวย์โปรตีนมี Cysteine มากซึ่งเป็นสารตั้งต้นในการสังเคาระห์กลูตาไธโอน กลูตาไธโอนมีบทบาทในการต้านอนุมูลอิสระและมีความสาคัญในเมแทบอลิซึมในการต้านสารพิษ
การประเมินคุณภาพของโปรตีน 6-7
การจะบอกว่าโปรตีนชนิดใดชนิดหนึ่งมีคุณภาพดีหรือไม่นั้นจาเป็นต้องการประเมินคุณภาพของโปรตีน
โดยใช้วิธีการประเมิน 2 แบบด้วยกันคือ
1. Biological value (BV) เป็นการประเมินว่าโปรตีนที่ได้รับเข้าสู่ร่างกายนั้นมีประสิทธิภาพในการดูดซึมและนาไปสังเคราะห์เป็นโปรตีนในร่างกายได้น้อยหรือมากเพียงใด มีค่าคะแนนการประเมินสูงสุดเท่ากับ 100
2. Protein digestibility corrected amino acid score (PDCAAS) เป็นการประเมินคุณภาพโปรตีนโดย
พิจารณาจากการมีกรดอะมิโนจาเป็นครบถ้วนหรือไม่ โดยให้มีคะแนนสูงสุดเท่ากับ1.0 ในการสร้างความ
แข็งแรงของกล้ามเนื้อและการเพิ่มขนาดของมวลกล้ามเนื้อของนักกีฬามักจะใช้โปรตีนในรูปแบบของนมวัวสด
      จากการประเมินคุณภาพโปรตีนพบว่าเวย์โปรตีนเป็นโปรตีนที่สามารถดูดซึมและนาไปใช้ในการสร้าง
โปรตีนในร่างกายได้เร็วที่สามารถดูดซึมและนาไปใช้ในการสร้างโปรตีนในร่างกายได้เร็วและดีกว่านมวัวสดหรือเคซีน หรือโปรตีนถั่วเหลือง

อ้างอิง : อาจารย์อรวรรณ ภู่ชัยวัฒนานนท์ และอาจารย์สุรัสวดี สมนึก
 หน่วยโภชนาวิทาลัยและชีวเคมีทางการแพทย์ ภาควิชาอายุศาสตร์ รพ.รามาธิบดี มหิดล
 จากวารสารวิทยาศาสตร์การกีฬา ปีที่ 13 ฉบับที่ 153 เดือนเมษายน 2556 : Volume 13 Number 153 April  2013: 1513-2867

ความคิดเห็น

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

ลักษณะบุคลิกภาพของการเป็นนักกีฬาที่ดี

ลักษณะบุคลิกภาพของการเป็นนักกีฬาที่ดี นักกีฬาที่ต้องการประสบความสำเร็จทางการกีฬาและมีความสุข ในการดำเนินชีวิต ควรมีลักษณะบุคลิกภาพที่ดี ดังต่อไปนี้ 1. มีสุขภาพร่างกายสมบูรณ์ แข็งแรง ปราศจากโรคภัยไข้เจ็บ 2. มีจิตใจเบิกบาน ยิ้มง่าย มีอารมณ์ขันอย่างเหมาะสมกับสถานการณ์มองโลกในแง่ดี 3. วาจาสุภาพ ไพเราะ มีมารยาททางสังคม 4. แต่งกายสุภาพ สะอาด เรียบร้อย เหมาะสมกับกาลเทศะ 5. มีความกระตือรือร้น และกระฉับกระเฉง 6. มีความซื่อสัตย์ต่อตนเองและผู้อื่น 7. มีเหตุผลและรู้จักใช้วิจารณญาณในการตัดสินใจและกระทำสิ่งต่างๆ 8. มีความสามารถในการควบคุมอารมณ์ มีความอดทนอดกลั้น 9. มีความเชื่อมั่นในตนเอง ขณ ะเดียวกันพร้อมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น 10. มีน้ำใจนักกีฬา อ้างอิง :  ชื่อหนังสือ  จิตวิทยาการกีฬา  ปีที่พิมพ์ 2556              จัดพิมพ์โดย  กรมพลศึกษา กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา

Motivation in Sport( แรงจูงใจทางการกีฬา)

แรงจูงใจทางการกีฬา (Motivation in Sport)               แรงจูงใจ คือ พลังผลักดันให้บุคคลแสดงพฤติกรรม ผู้ที่มีแรงจูงใจจะใช้ความพยายามในการกระ ทำเพื่อไปสู่เป้าหมายโดยไม่ลดละแต่ผู้ที่ ไม่มีแรงจูงใจจะไม่แสดงความพยายามหรือเลิกกระทำก่อนบรรลุเป้าหมาย             กระบวนการจูง ความต้องการของบุคคลในสิ่งใดสิ่งหนึ่งจะมีผลต่อการกำหนดทิศทาง ( Direction) และระดับความตั้งใจที่จะปฏิบัติ ( Intensity) ประเภทของแรงจูงใจ     1. แรงจูงใจภายใน แรงจูงใจภายในเป็นสิ่งผลักดันที่มาจากความต้องการภายในตัวบุคคล ซึ่งอาจเป็นเจตคติ ความคิดเห็น ความสนใจ ความตั้งใจการเห็นคุณค่าในตนเอง ความพอใจ ความต้องการ เป็นต้น     2. แรงจูงใจภายนอก แรงจูงใจภายนอกเป็นสิ่งผลักดันที่มาจากภายนอกตัวบุคคล อาจเป็นการได้รับรางวัลเกียรติยศ ชื่อเสียง การได้รับการยอมรับการยกย่องชมเชย               ผู้ฝึกสอน ควรเน้นให้นักกีฬารับรู้ว่าตนเองมีอิสระในการตัดสินใจหร...

Aggressive in sport(ความก้าวร้าวทางการกีฬา)

ความก้าวร้าวทางการกีฬา ( Aggressive in sport)         ความก้าวร้าวทางการกีฬา เป็นสิ่งที่ต้องทำความเข้าใจให้ถูกต้องเกี่ยวกับลักษณะและการให้ความหมายของความก้าวร้าวทางการกีฬา เพราะหากกล่าวถึงความก้าวร้าวเพียงอย่างเดียวย่อมหมายถึงพฤติกรรมที่แสดงออกถึงความรุนแรงเป็นพฤติกรรมที่ ไม่พึงประสงค์เท่านั้น แต่ในทางการกีฬามีลักษณะการแสดงออกบางประการจัดอยู่ในกลุ่มลักษณะความก้าวร้าวเพียงแต่ไม่มีเจตนาที่ตั้งใจให้เกิดอันตรายหรือการบาดเจ็บอย่างสาหัส การทำความเข้าใจกับความหมายของความก้าวร้าวช่วยลดปัญหาความเข้าใจผิดต่างๆ ได้อย่างมากคนส่วนใหญ่เข้าใจว่าการที่คนอื่นมีความคิดเห็นแตกต่างกับเรา การมีความคิดลบหรือความปรารถนาให้คนอื่นได้รับบาดเจ็บคือความหมายของความก้าวร้าวซึ่งความก้าวร้าวไม่ใช่ลักษณะของความรู้สึก เช่น ความโกรธหรือสภาวะทางอารมณ์อื่นๆ แต่ความก้าวร้าวเป็นลักษณะของพฤติกรรม ลักษณะของความก้าวร้าว ในทางการกีฬาแบ่งลักษณะของความก้าวร้าวที่เกิดขึ้นเป็น 3 ลักษณะคือ    1. พฤติกรรมความก้าวร้าวแบบโกรธแค้นหรือตั้งใจท ำร้าย เป็น ความก้าวร้าวที่มีวัตถุปร...